วันจันทร์ที่ 29 ธันวาคม พ.ศ. 2551

New Year








The New Year is an event that happens when a culture celebrates the end of one year and the beginning of the next year. Cultures that measure yearly calendars all have New Year celebrations.
In countries governed by the Gregorian calendar, the celebration of New Year is celebrated on January 1, the date that is considered the most festive of them.

Traditionally, the Roman calendar Gardens began the first day of March. However, it was in January (the eleventh month) when the consuls of ancient Rome assumed the government. Julius Caesar, in 47 years a. C., changed the system, creating the Julian calendar, with some modifications in the time of Marco Antonio consul in 44 a. C., the emperor Augustus Caesar in 8 a. C. and finally by Pope Gregory XIII in 1582, is used today. In this year begins on January 1. Subsequently, the Gregorian calendar had the habit and the celebration was marked with a religious significance during the Middle Ages and later centuries.
With the expansion of Western culture to the rest of the world during the twentieth century, the January 1 date became a universal in nature, even in countries with their own New Year celebrations (ex, China).
At present, the celebration of New Year is a major event in the world. Major events are held in major cities around the world New Year's Eve (New Year's Eve for the December 31), being accompanied by the largest fireworks events. The largest events in the world are focused on:


While in Sydney was launched at midnight over 80,000 fireworks to more than one and a half million attendees, being the most-watched event on television worldwide last year at Valparaiso receive more than two million visitors to witness the largest fireworks in a natural setting and the huge worldwide; a total of more than 21 kilometers of fireworks on the bay, from the commercial port city of Valparaiso to Concon, Chile, all in 25 minutes of entertainment. In New York, the celebration is focused around a big crystal ball that descends on a crowd in Times Square, is also the party with the largest number of attendees last year: more than three million people. Moreover, much of the huge holiday clubs.
In the culture of Latin America there are a variety of traditions and superstitions for these dates as a way of omens for the coming year. The uncorking a bottle of champagne at 0:00 1. January still remains a symbol of New Year's celebration.
The New Year feast is closely related to the celebration of Christmas Eve, Christmas and Hannukah. Due to the closeness between all these parties is that much of the world sees the last week of the year as the beginning of the holiday period, either in winter (in the Northern Hemisphere) or summer (in the Southern Hemisphere).
According to the Judeo-Christian tradition, on January 1 coincides with the circumcision of Christ (eight days after birth), when the name of Jesus

While in Sydney was launched at midnight over 80,000 fireworks to more than one and a half million attendees, being the most-watched event on television worldwide last year at Valparaiso receive more than two million visitors to witness the largest fireworks in a natural setting and the huge worldwide; a total of more than 21 kilometers of fireworks on the bay, from the commercial port city of Valparaiso to Concon, Chile, all in 25 minutes of entertainment. In New York, the celebration is focused around a big crystal ball that descends on a crowd in Times Square, is also the party with the largest number of attendees last year: more than three million people. Moreover, much of the huge holiday clubs.
In the culture of Latin America there are a variety of traditions and superstitions for these dates as a way of omens for the coming year. The uncorking a bottle of champagne at 0:00 1. January still remains a symbol of New Year's celebration.
The New Year feast is closely related to the celebration of Christmas Eve, Christmas and Hannukah. Due to the closeness between all these parties is that much of the world sees the last week of the year as the beginning of the holiday period, either in winter (in the Northern Hemisphere) or summer (in the Southern Hemisphere).
According to the Judeo-Christian tradition, on January 1 coincides with the circumcision of Christ (eight days after birth), when the name of Jesus
Modern new year celebrations

The most common modern dates of celebration are listed below, ordered and grouped by their appearance relative to the conventional Western calendar.
Many cities across the world celebrate the New Year. The celebrations usually include a firework's display, and other festivities. London, for example, has a major fireworks display along the River Thames, followed by a parade on New Year's Day.
The Gregorian calendar is now used by many countries as the official calendar. This has meant that celebrations for the New Year have become much larger than before. Some countries even consider 1 January to be a National Holiday.

Christmas












Christmas also referred to as Christmas Day, is an annual holiday celebrated on December 25 that commemorates the birth of Jesus of Nazareth. The day marks the beginning of the larger season of Christmastide, which lasts twelve days The nativity of Jesus, which is the basis for the anno Domini system of dating, is thought to have occurred between 7 and 2 BC.December 25th is not thought to be the actual date of birth of Jesus, and the date may have been chosen to correspond with either a Roman festival or with the winter solsticeModern customs of the holiday include gift-giving, Church celebrations, and the display of various decorations—including the Christmas tree, lights, mistletoe, nativity scenes, and holly. Santa Claus (also referred to as Father Christmas, although the two figures have different origins) is a popular mythological figure often associated with bringing gifts at Christmas for children. Santa is generally believed to be the result of a syncretization between Saint Nicholas and elements from pagan Nordic and Christian mythology, and his modern appearance is believed to have originated in 19th century media.
Christmas is celebrated throughout the Christian population, but is also celebrated by many non-Christians as a secular, cultural festival. Because gift-giving and several other aspects of the holiday involve heightened economic activity among both Christians and non-Christians, Christmas has become a major event for many retailers.


Etymology


The word Christmas originated as a compound meaning "Christ's Mass". It is derived from the Middle English Christemasse and Old English Cristes mæsse, a phrase first recorded in 1038.[3] "Cristes" is from Greek Christos and "mæsse" is from Latin missa. In Greek, the letter Χ (chi), is the first letter of Christ, and it, or the similar Roman letter X, has been used as an abbreviation for Christ since the mid-16th centuryHence, Xmas is often used as an abbreviation for Christmas.



Santa Claus and other bringers of gifts
Originating from Western culture, where the holiday is characterized by the exchange of gifts among friends and family members, some of the gifts are attributed to a character called Santa Claus (also known as Father Christmas, Saint Nicholas or St. Nikolaus, Sinterklaas, Kris Kringle, Père Noël, Joulupukki, Babbo Natale, Weihnachtsmann, Saint Basil and Father Frost).
The popular image of Santa Claus was created by the German-American cartoonist Thomas Nast (1840–1902), who drew a new image annually, beginning in 1863. By the 1880s, Nast's Santa had evolved into the form we now recognize. The image was standardized by advertisers in the 1920s.Father Christmas, who predates the Santa Claus character, was first recorded in the 15th century, but was associated with holiday merrymaking and drunkenness.[41] In Victorian Britain, his image was remade to match that of Santa. The French Père Noël evolved along similar lines, eventually adopting the Santa image. In Italy, Babbo Natale acts as Santa Claus, while La Befana is the bringer of gifts and arrives on the eve of the Epiphany. It is said that La Befana set out to bring the baby Jesus gifts, but got lost along the way. Now, she brings gifts to all children. In some cultures Santa Claus is accompanied by Knecht Ruprecht, or Black Peter. In other versions, elves make the toys. His wife is referred to as Mrs. Claus.
It is often claimed that the basis for the North American figure of Santa Claus is the Dutch holyman and bringer of gifts Sinterklaas. During the American War of Independence the inhabitants of New York City, a former Dutch colonial town (New Amsterdam) which had been swapped by the Dutch for other territories, reinvented their Sinterklaas tradition, as Saint Nicholas was a symbol of the city's non-English past.The name Santa Claus supposedly is derived from older Dutch Sinte Klaas. However, the Saint Nicholas Society was not founded until 1835, almost half a century after the end of the American War of IndependenceMoreover, a study of the "children's books, periodicals and journals" of New Amsterdam by Charles Jones revealed no references to Saint Nicholas or Sinterklaas.However, not all scholars agree with Jones's findings, which he reiterated in a booklength study in 1978;Howard G. Hageman, of New Brunswick Theological Seminary, maintains that the tradition of celebrating Sinterklaas in New York was alive and well from the early settlement of the Hudson Valley on.The current tradition in several Latin American countries (such as Venezuela and Colombia) holds that while Santa makes the toys, he then gives them to the Baby Jesus, who is the one who actually delivers them to the children's homes. This story is meant to be a reconciliation between traditional religious beliefs and modern day globalization, most notably the iconography of Santa Claus imported from the United States.
In Alto Adige/Südtirol (Italy), Austria, Czech Republic, Southern Germany, Hungary, Liechtenstein, Slovakia and Switzerland, the Christkind (Ježíšek in Czech, Jézuska in Hungarian and Ježiško in Slovak) brings the presents. The German St. Nikolaus is not identical with the Weihnachtsman (who is the German version of Santa Claus). St. Nikolaus wears a bishop's dress and still brings small gifts (usually candies, nuts and fruits) on December 6 and is accompanied by Knecht Ruprecht. Although many parents around the world routinely teach their children about Santa Claus and other gift bringers, some have come to reject this practice, considering it deceptive.

วันพฤหัสบดีที่ 11 ธันวาคม พ.ศ. 2551

วันรัฐธรรมนูญ

วันรัฐธรรมนูญ หมายถึง วันที่ระลึกที่พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯพระราชทานรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรสยาม พุทธศักราช 2475 นับเป็นรัฐธรรมนูญฉบับถาวรฉบับแรกของราชอาณาจักร เมื่อวันที่ 10 ธันวาคม พ.ศ. 2475 ภายหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครองโดยคณะราษฎรจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ เป็นระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขภายใต้รัฐธรรมนูญ ซึ่งเป็นกฎหมายสูงสุด

ความหมาย

รัฐธรรมนูญ หมายถึง กฎหมายว่าด้วยระเบียบการปกครองประเทศ

วันรัฐธรรมนูญ วันที่ ๑๐ ธันวาคม พ.ศ. ๒๔๗๕ เป็นวันที่พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้พระราชทานรัฐธรรมนูญราชอาณาจักรสยาม ฉบับถาวร เพื่อเป็นหลักในการปกครองของประเทศให้แก่ประชาชนชาวไทย


ความเป็นมา

การเปลี่ยนแปลงการปกครองเมื่อวันที่ ๒๔ มิถุนายน พ.ศ. ๒๔๗๕ นับว่ามีความสำคัญเป็นอย่างยิ่งในประวัติศาสตร์การปกครองของชาติไทย เนื่องจากเป็นการเปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบประชาธิปไตย โดยมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุขอยู่ภายใต้รัฐธรรมนูญอันเป็นกฎหมายสูงสุดของประเทศ


สาเหตุที่เกิดการเปลี่ยนแปลงการปกครอง
๑. พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๗ แห่งราชวงศ์จักรีทรงมีพระราชประสงค์ที่จะพระราชทานรัฐธรรมนูญ เพื่อเป็นหลักในการปกครองของประเทศให้แก่ประชาชนชาวไทย

๒. หลังสงครามโลกครั้งที่ ๑ เศรษฐกิจตกต่ำทั่วโลก ผลอันนี้ได้กระทบมาถึงไทยด้วย พระองค์ได้แก้ไขเศรษฐกิจโดยปลดข้าราชการออก ยังความไม่พอใจในหมู่ข้าราชการ

๓. อิทธิพลจากตะวันตกเกี่ยวกับอุดมการทางการเมือง ทำให้กลุ่มคนหนุ่มต้องการเปลี่ยนแปลงอย่างฉับพลัน

๔. รัฐบาลได้ออกกฏหมายเก็บภาษี อาทิ ภาษีโรงเรือน ภาษีที่ดิน จากราษฎร


จากสาเหตุดังกล่าวข้างต้น ทำให้เกิดความไม่พอใจในหมู่ข้าราชการทหาร และราษฎรทั่วไปจึงทำให้มีการเปลี่ยนแปลงการปกครอง โดยการปฏิวัติ มีคณะผู้รักษาการพระนครฝ่ายทหาร ซึ่งประกอบด้วยพันเอก พระยาพหลพยุหเสนา พันเอกพระยาทรงสุรเดช และพันเอกพระฤทธิอาคเนย์ เป็นผู้บริหารประเทศ


วันที่ ๒๗ มิถุนายน พ.ศ. ๒๔๗๕ ได้มีการประกาศใช้รัฐธรรมนูญชั่วคราวเรียกว่า "พระราชบัญญัติธรรมนูญการปกครองแผ่นดินสยามชั่วคราว" สาระสำคัญของธรรมนูญการปกครองฉบับนี้ได้แก่ การที่กำหนดว่าอำนาจสูงสุดในการปกครองประเทศหรืออำนาจอธิปไตยเป็นของราษฎรทั้งหลาย การใช้อำนาจสูงสุดก็ให้มีบุคคลคณะบุคคลเป็นผู้ใช้อำนาจแทนราษฎรดังนี้ คือ
๑. พระมหากษัตริย์

๒. สภาผู้แทนราษฎร

๓. คณะกรรมการราษฎร

๔. ศาล


ลักษณะการปกครองแม้จะเปลี่ยนระบอบการปกครองมาเป็นประชาธิปไตยแต่ก็ถือว่าพระมหากษัตริย์เป็นประมุขของประเทศ เป็นสถาบันที่ถาวรและมีการสืบราชสมบัติต่อไปในพระราชวงศ์ การปฏิบัติราชการต่างๆ จะต้องมีกรรมการราษฎรผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ โดยได้รับความยินยอมจากคณะกรรมการราษฎรจึงจะใช้ได้ สถาบันที่เกิดใหม่คือ สภาผู้แทนราษฎร ซึ่งมีอำนาจทางนิติบัญญัติออกกฎหมายต่างๆ ซึ่งเมื่อพระมหากษัตริย์ลงพระปรมาภิไธยประกาศใช้แล้วจึงมีผลบังคับได้ เหตุนี้ในระยะแรกของการเปลี่ยนแปลงการปกครอง สภาผู้แทนจึงเป็นสถาบันที่มีอำนาจสูงสุดในทางการเมือง ส่วนการใช้อำนาจตุลาการยังคงให้ศาลยุติธรรมที่มีอยู่แล้วพิจารณาพิพากษาคดีให้เป็นไปตามกฎหมายได้ตามเดิม


กระทั่งถึง วันที่ ๑๐ ธันวาคม พ.ศ. ๒๔๗๕ พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้พระราชทานรัฐธรรมนูญราชอาณาจักรสยาม ฉบับถาวร ซึ่งมีหลักการต่างกับฉบับแรกในวาระสำคัญหลายประการ อาทิได้เปลี่ยนระบอบการปกครองเป็นการปกครองแบบรัฐสภา ทั้งนี้เนื่องจากรัฐธรรมนูญ พ.ศ.๒๔๗๕ ได้บัญญัติให้พระมหากษัตริย์ ซึ่งเป็นประมุขไม่ต้องรับผิดชอบทางการเมืองเป็นผู้ใช้อำนาจทางคณะรัฐมนตรี ซึ่งพระมหากษัตริย์ ทรงแต่งตั้งให้บริหารราชการแผ่นดิน แต่คณะรัฐมนตรีจะต้องรับผิดชอบในการบริหารราชการแผ่นดินต่อสภาผู้แทน รัฐสภาซึ่งเป็นฝ่ายนิติบัญญัติมิได้ใช้แต่เพียงอำนาจนิติบัญญัติเท่านั้น แต่มีอำนาจที่จะควบคุมคณะรัฐมนตรีในการบริหารแผ่นดินด้วย แต่อย่างไรก็ตาม คณะรัฐมนตรีรวมทั้งพระมหากษัตริย์ซึ่งประกอบกันเป็นรัฐบาลก็มีอำนาจที่จะยุบสภาผู้แทนได้ หากเห็นว่าได้ดำเนินการไปในทางที่จะเป็นภัยหรือเสื่อมเสียผลประโยชน์สำคัญของรัฐที่มีผลเท่ากับถอดถอนสมาชิกสภาที่ได้รับเลือกตั้งมาเพื่อให้ราษฎรเลือกตั้งใหม่ ในส่วนที่เกี่ยวข้องกับพระมหากษัตริย์นั้นได้บัญญัติว่าพระมหากษัตริย์ดำรงอยู่ในฐานะอันเป็นที่เคารพสักการะ ผู้ใดจะละเมิดมิได้ ้


รัฐธรรมนูญเป็นกฎหมายสูงสุดของประเทศ เป็นเครื่องกำหนดระเบียบแบบแผนของสังคม เพื่อเป็นการระลึกถึงรัฐธรรมนูญฉบับแรก อันเป็นฉบับถาวร และพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้พระราชทานให้กับปวงชนชาวไทย ทางราชการจึงกำหนด วันที่ ๑๐ ธันวาคมของทุกปี เป็นวันรัฐธรรมนูญ


ข้อมูลจาก : หนังสือ "วันสำคัญโครงการปีรณรงค์วัฒนธรรมไทยและแนวทางในการจัดกิจกรรม"
โดย สำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. ๒๕๓๗

วันพ่อแห่งชาติ

วันพ่อแห่งชาติ เป็นวันสำคัญสัมพันธ์กับวันแม่แห่งชาติ ในการฉลองความเป็นพ่อและบุคคลที่นับถือในการเป็นพ่อ วันพ่อแห่งชาตินั้นทั่วโลกจะมีการจัดแตกต่างกันไป โดยในประเทศไทยจัดตรงกับวันที่ 5 ธันวาคม ของทุกปี โดยในกว่า 50 ประเทศจะจัดวันอาทิตย์ที่สามของเดือนมิถุนายน

จอห์น บี. ดอดด์ ชาวอเมริกันเป็นผู้ริเริ่มแนวคิดของวันพ่อแห่งชาติ โดยเริ่มต้นที่เมืองแฟร์มอนต์ รัฐเวสต์เวอร์จิเนีย โดยเริ่มครั้งแรกเมื่อ 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2461 ในโบสถ์แห่งหนึ่งในแฟร์มอนต์

วันพ่อแห่งชาติในแต่ละประเทศ
19 มีนาคม - สเปน โปรตุเกส อิตาลี
8 พฤษภาคม - เกาหลีใต้
5 มิถุนายน - เดนมาร์ก
วันอาทิตย์ที่สามของเดือนมิถุนายน - ญี่ปุ่น อาร์เจนตินา ไอร์แลนด์ มาเลเซีย สหรัฐอเมริกา สหราชอาณาจักร
23 มิถุนายน - โปแลนด์
อาทิตย์ที่สองของเดือนสิงหาคม - บราซิล
อาทิตย์แรกของเดือนกันยายน - ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์
อาทิตย์ที่สองของเดือนพฤศจิกายน - ฟินแลนด์ นอร์เวย์ สวีเดน
5 ธันวาคม - ไทย

วันพ่อแห่งชาติในประเทศไทย

วันพ่อแห่งชาติในประเทศไทยตรงกับวันที่ 5 ธันวาคมของทุกปี เป็นวันเฉลิมพระชนมพรรษาพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช โดยจัดติดต่อกันทุกปีตั้งแต่ พ.ศ. 2523 โดยการริเริ่มของ นายกสมาคมผู้อาสาสมัครและช่วยการศึกษา คุณหญิงเนื้อพิทย์ เสมรสุต สัญลักษณ์ที่ใช้ในวันพ่อได้แก่ ดอกพุทธรักษาซึ่งมีชื่ออันเป็นมงคล

วันที่ 5 ธันวาคมของทุกปี ในประเทศไทย นอกจากจะเป็นวันเฉลิมพระชนมพรรษาของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช และเป็นวันพ่อแห่งชาติแล้ว ยังถือว่าวันนี้ เป็น “วันชาติของไทย” อีกด้วย


ประวัติ
วันพ่อแห่งชาติ ได้จัดให้มีขึ้นครั้งแรก เมื่อวันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2523 โดยคุณหญิงเนื้อทิพย์ เสมรสุต นายกสมาคมผู้อาสาสมัครและช่วยการศึกษา หลักการและเหตุผลที่มีการจัดตั้งวันพ่อขึ้นแห่งชาติ เนื่องจากพ่อ เป็นบุคคลผู้มีพระคุณและมีบทบาทสำคัญต่อครอบครัวและสังคม สมควรที่ผู้เป็นลูกจะเคารพเทิดทูนและตอบแทนพระคุณด้วยความกตัญญู และสังคมควรที่จะยกย่องให้เกียรติรำลึกถึงผู้เป็นพ่อ จึงถือเอาวันที่ 5 ธันวาคม ของทุกปี ซึ่งเป็นวันเฉลิมพระชนมพรรษาของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชเป็น "วันพ่อแห่งชาติ" เพื่อเทิดพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ในฐานะ “พ่อแห่งชาติ” ซึ่งนอกจากพระองค์จะเป็นพระราชบิดาของพระราชโอรสและพระราชธิดา ทรงทะนุบำรุงพระราชโอรสธิดาด้วยความรัก และทรงอบรมอนุศาสน์ให้ทรงเจริญวัยสมบูรณ์ ทรงเป็น "พ่อ" ตัวอย่างของปวงชนชาวไทยที่เปี่ยมล้นด้วยพระเมตตากรุณา อีกทั้งยังทรงบำเพ็ญคุณานุประโยชน์แก่ประเทศชาติและประชาชน ทรงพระมหากรุณาทะนุบำรุงขจัดทุกข์ผดุงสุขพสกนิกรถ้วนหน้า พระองค์ทรงเป็น “พ่อแห่งชาติ” ที่อาณาประชาราษฎร์เทิดทูนด้วยความจงรักภักดี สำนึกในพระมหากรุณาธิคุณ และยึดมั่นในการเจริญรอยตามเบื้องพระยุคลบาทในการทะนุบำรุงชาติบ้านเมืองให้วัฒนาถาวรสืบไป

วัตถุประสงค์ของการจัดวันพ่อแห่งชาติ
เพื่อเทิดทูนพระเกียรติคุณของ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
เพื่อเทิดทูนพระคุณของพ่อ และยกย่องบทบาทของพ่อที่มีต่อครอบครัวและสังคม
เพื่อให้ลูกได้แสดงความกตัญญูกตเวทีต่อพ่อ
เพื่อให้ผู้เป็นพ่อ สำนึกในหน้าที่และความรับผิดชอบของตน

กิจกรรม
กิจกรรมในวันเฉลิมพระชนมพรรษาพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ในทุกๆ ปี จะมีการประดับธงชาติในทุกหน่วยงาน ไม่ว่าจะเป็นสถานที่ราชการ โรงเรียน บริษัท และบ้านเรือน เพื่อถวายพระพรให้พระองค์ทรงมีพระชนมายุยิ่งยืนนาน และยังมีการทำความสะอาดแม่น้ำลำคลอง ถนน โรงพยาบาล และประดับรูปของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ไว้ที่หน้าบริษัทหรือหน่วยงานต่างๆ เพื่อถวายเป็นพระราชกุศลแด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวด้วย

กิจกรรมสำหรับลูกในวันพ่อแห่งชาติ คือ ประดับธงชาติตามอาคารบ้านเรือน จัดกิจกรรมบำเพ็ญประโยชน์ หรือบำเพ็ญกุศล ทำบุญใส่บาตร เพื่ออุทิศส่วนกุศล และระลึกถึงพระคุณของพ่อ

นอกจากนี้ยังมีการจัดกิจกรรมประกาศเกียรติคุณ พ่อตัวอย่าง หรือพ่อดีเด่น โดยกำหนดคุณสมบัติ คือ มีอายุ 40 ปีขึ้นไป ส่งเสริมการศึกษาของบุตร ธิดา นับถือศาสนาโดยเคร่งครัด งดเว้นอบายมุขทุกชนิด อุทิศตนเพื่อประโยชน์ต่อสาธารณชน และมีภรรยาเพียงคนเดียว

วันจันทร์ที่ 8 ธันวาคม พ.ศ. 2551

พระจันทร์ยิ้ม

จุดกำเนิดของ ปรากฎการณ์พระจันทร์ยิ้ม ความเป็นมา และเวลาที่จะเกิดปรากฎการณ์พระจันทร์ยิ้มได้ถูกบันทึกลงในหน้าประวัติศาสตร์ของประเทศไทย หลายคนเฝ้ารอถ่ายรูป และเป็นโชคดีของเมืองไทยโดยเฉพาะในเขตกรุงเทพที่ฟ้าเปิดให้เห็นได้แบบเต็มๆ

ภาพปรากฎการณ์ “พระจันทร์ยิ้ม” ยิ้มด้วยความดีใจอาจว่าจะเป็นนิมิตรหมายอันดีสำหรับประเทศไทย หลายคนอธิษฐานว่าขอให้เหตุการณ์เลวร้ายทั้งหลายที่เกิดขึ้นในประเทศไทยได้คลี่คลายไปในทางที่ดี กลับมาสงบสุขอีกครั้ง

หลายๆคนตื่นเต้นกะการถ่ายรูป พระจันทร์ยิ้มนี้ และปรากฎการณ์นี้ก็ไม่ได้เกิดแค่ในประเทศไทยเท่านั้น แต่ยังเกิดขึ้นกับหลายๆที่ทั่วโลกด้วย

Planetary Conjunction

ปรากฎการณ์ “พระจันทร์ยิ้ม” นี้ สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ ระบุว่า เป็นปรากฏการณ์ดวงจันทร์ ดาวศุกร์ และ ดาวพฤหัสบดี อยู่ใกล้กัน (Conjunction of Moon, Venus and Jupiter) ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ ในช่วงหัวค่ำของวันที่ 1 ธ.ค.นี้ โดยดาวศุกร์ และดาวพฤหัสบดี อยู่ห่างกันเพียง 2 องศา และดวงจันทร์ปรากฏเป็นเสี้ยว หันด้านมืดเข้าหาดาวเคราะห์ทั้งสองพอดี ทั้งนี้ ดาวศุกร์จะสว่างกว่าดาวพฤหัสบดี และอยู่เยื้องต่ำกว่าเล็กน้อย

ขณะที่ข้อมูลจากเว็บไซต์สมาคมดาราศาสตร์ไทยระบุว่า ดวงจันทร์ในคืนวันที่ 1 ธ.ค.2551 นี้ จะตกเวลา 20.46 น.ดังนั้น มีเวลาไม่มากนักที่จะได้ชมปราฏการณ์ในคืนนี้