โทรทัศน์ เป็นระบบโทรคมนาคมสำหรับการกระจายและรับภาพเคลื่อนไหวและเสียงระยะไกล คำนี้ยังหมายถึงรายการโทรทัศน์และการแพร่ภาพอีกด้วย คำว่าโทรทัศน์ในภาษาไทย มีที่มาจากคำในภาษาอังกฤษ คือ television ซึ่งเป็นคำผสมจากคำกรีก tele- ("ระยะไกล" — โทร-) และ -vision ที่มาจากภาษาละติน visio ("การมองเห็น" — ทัศน์) มักเรียกย่อเป็น TV (ทีวี) โทรทัศนขาว-ดำเครื่องแรกของโลก ที่ถูกสร้างขึ้นในปีพ.ศ. 2468 เป็นผลงานการประดิษฐ์ของจอห์น ลอกกี้ เบรียด ชาวสกอตแลนด์
ประเทศไทยเริ่มมีการแพร่ภาพโทรทัศน์เมื่อ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2498 โดย บริษัท ไทยโทรทัศน์ จำกัด แพร่ภาพทาง สถานีโทรทัศน์ไทยทีวี ช่อง 4 จาก วังบางขุนพรหม (ปัจจุบันเป็นโมเดิร์นไนน์ ทีวี) สำหรับสถานีโทรทัศน์แห่งชาติของไทยนั้น ก็คือ สถานีวิทยุโทรทัศน์แห่งประเทศไทย ทั้งชื่อ ช่อง 11 กรมประชาสัมพันธ์ และ เอ็นบีที เริ่มแพร่ภาพครั้งแรก เมื่อวันที่ 11 กรกฎาคม พ.ศ. 2531
การส่งโทรทัศน์ในระบบ VHF และ UHF ในประเทศไทย
สถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 - VHF Band-1 ช่อง 3 (ปัจจุบันออกอากาศในระบบ UHF Band-4 ช่อง 32และระบบ Band-5 ช่อง 60)
สถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบกช่อง 5 - VHF Band-1 ช่อง 5
สถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7 - VHF Band-3 ช่อง 7
สถานีโทรทัศน์ โมเดิร์นไนน์ ทีวี - VHF Band-3 ช่อง 9
สถานีวิทยุโทรทัศน์แห่งประเทศไทย - VHF Band-3 ช่อง 11
สถานีโทรทัศน์ทีวีไทย - UHF Band-4 ช่อง 29 (รับช่วงในการส่งสัญญาณต่อจากไอทีวีและทีไอทีวี)
คลื่นความถี่ที่ถูกส่งในประเทศไทย
VHF มีจำนวน 11 ช่อง คือ ช่อง 2-12 (โดยแบ่งกัน 2 ลักษณะ คือความถี่ต่ำ คือ ช่อง 2-4 และ ความถี่สูง คือ ช่อง 5-12)
UHF มีจำนวน 39 ช่อง คือ ช่อง 21-69
ตัวเลขที่ถูกบังคับให้ส่งคลื่น
VHF มีจำนวน 12 ช่อง คือ ช่อง 1-12 (บางครั้งก็ใช้ตัวอักษรโรมัน เรียกการส่งคลื่นในบางประเทศ)
UHF มีจำนวน 72 ช่อง คือ ช่อง13-84
การส่งโทรทัศน์ในระบบ VHF และ UHF ในประเทศไทย
สถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 - VHF Band-1 ช่อง 3 (ปัจจุบันออกอากาศในระบบ UHF Band-4 ช่อง 32และระบบ Band-5 ช่อง 60)
สถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบกช่อง 5 - VHF Band-1 ช่อง 5
สถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7 - VHF Band-3 ช่อง 7
สถานีโทรทัศน์ โมเดิร์นไนน์ ทีวี - VHF Band-3 ช่อง 9
สถานีวิทยุโทรทัศน์แห่งประเทศไทย - VHF Band-3 ช่อง 11
สถานีโทรทัศน์ทีวีไทย - UHF Band-4 ช่อง 29 (รับช่วงในการส่งสัญญาณต่อจากไอทีวีและทีไอทีวี)
คลื่นความถี่ที่ถูกส่งในประเทศไทย
VHF มีจำนวน 11 ช่อง คือ ช่อง 2-12 (โดยแบ่งกัน 2 ลักษณะ คือความถี่ต่ำ คือ ช่อง 2-4 และ ความถี่สูง คือ ช่อง 5-12)
UHF มีจำนวน 39 ช่อง คือ ช่อง 21-69
ตัวเลขที่ถูกบังคับให้ส่งคลื่น
VHF มีจำนวน 12 ช่อง คือ ช่อง 1-12 (บางครั้งก็ใช้ตัวอักษรโรมัน เรียกการส่งคลื่นในบางประเทศ)
UHF มีจำนวน 72 ช่อง คือ ช่อง13-84
ประเภทของโทรทัศน์
ชื่อ
ขนาด
อัตราส่วน
อักษรย่อ
Standard Definition Television 704 × 480 1.4 : 1.0 SDTV (480p)
High Definition Television 1920 × 1080 1.7 : 1.0 HDTV (1080p)
Quad Full High Definition Television*3840 × 2160 1.7 : 1.0 QHDTV (2160p)
Super Hi-Vision Television* 7680 × 4320 1.7 : 1.0 SHVTV (4320p)
ชื่อ
ขนาด
อัตราส่วน
อักษรย่อ
Standard Definition Television 704 × 480 1.4 : 1.0 SDTV (480p)
High Definition Television 1920 × 1080 1.7 : 1.0 HDTV (1080p)
Quad Full High Definition Television*3840 × 2160 1.7 : 1.0 QHDTV (2160p)
Super Hi-Vision Television* 7680 × 4320 1.7 : 1.0 SHVTV (4320p)
เป็นรูปแบบโทรทัศน์ที่กำลังจะเกิดขึ้นในอนาคต
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น